คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ศรีปทุม จัดอบรมหลักสูตร “EV Business Innovation” เสริมศักยภาพบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งอนาคต

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม จัดการอบรมหลักสูตร “EV Business Innovation” การพัฒนานวัตกรรมและโอกาสทางธุรกิจในอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งอนาคต” ภายใต้โครงการเรียนรู้ตลอดชีวิตและพัฒนาทักษะเพื่ออนาคต (Upskill/Reskill) โดยได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
รายละเอียดการอบรม
วันที่จัดอบรม: 10, 17, และ 24 สิงหาคม 2567
วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการพัฒนานวัตกรรมและโอกาสทางธุรกิจที่เชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งอนาคต โดยเฉพาะธุรกิจอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า
หัวข้อการอบรม
      • องค์ประกอบของยานยนต์สมัยใหม่และเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้า
      • เทคโนโลยียานยนต์แห่งอนาคต
      • โอกาสและอุปสรรคในอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งอนาคตไทย
      • ทิศทางและการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์ไทยสู่อนาคต
      • รูปแบบการเดินทางแห่งอนาคตในสภาพแวดล้อมของยานยนต์สมัยใหม่
      • การพัฒนานวัตกรรมด้วยแนวคิดการออกแบบ (Design Thinking)
      • การพัฒนาโมเดลธุรกิจและการนำเสนอแบบ Pitching
    วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ
        • ผศ.ดร.ชลธิศ เอี่ยมวรวุฒิกุล (หัวหน้าโครงการ, ผู้ช่วยอธิการบดี ม.ศรีปทุม และประธานสภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย)
        • ผศ.ดร.นักสิทธิ์ นุ่มวงษ์ (นักวิจัยเทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
        • รศ.ดร.ยศพงษ์ ลออนวล (ผู้เชี่ยวชาญอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า อดีตนายกสมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย)
        • ดร.เอ็ดเวิร์ด รูเบช (ผู้อำนวยการศูนย์การสร้างผู้ประกอบการที่ขับเคลื่อนโดยนวัตกรรม ม.ศรีปทุม)
       
      🌟Infrographic ถอดบทเรียน การดำเนินงานหลักสูตร “การพัฒนานวัตกรรมและโอกาสทางธุรกิจในอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งอนาคต” 
      📚https://bit.ly/4g4YoQN
      🌟Dash Board ข้อมูลสารสนเทศการดำเนินโครงการหลักสูตร
      “การพัฒนานวัตกรรมและโอกาสทางธุรกิจ ในอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งอนาคต” 
      📚https://lookerstudio.google.com/reporting/c4daaa88-d6d3-47dd-8c63-5b4b5942ce90

       

      ค่าเทอมสาขา

      คณะ/สาขาวิชา ลักษณะการกู้ยืมฯ เทอม 1 ตลอด หลักสูตร
      คณะบริหารธุรกิจ
      วิศวกรรมโยธา 1 46,600 41,600 359,400
      วิศวกรรมโยธา – การจัดการงานก่อสร้าง 1 46,600 41,600 359,400
      วิศวกรรมโยธา (นอกเวลาราชการ) 1 45,600 40,600 365,900
      วิศวกรรมไฟฟ้า 2 44,600 39,600 361,400
      วิศวกรรมไฟฟ้า – ระบบควบคุมอัตโนมัติและหุ่นยนต์ 2 44,600 39,600 361,400
      วิศวกรรมไฟฟ้า (นอกเวลาราชการ) 2 38,600 33,600 370,400
      วิศวกรรมเครื่องกล 2 46,600  41,600 364,400
      วิศวกรรมเครื่องกล – เทคโนโลยีอาคาร 2 46,600  41,600 364,400
      วิศวกรรมเครื่องกล (เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่) 2 46,600  41,600 364,400
      วิศวกรรมเครื่องกล (นอกเวลาราชการ) 2 45,600  40,600 373,400
      วิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ 2 45,600  40,600 362,000
      วิศวกรรมอุตสาหการ – การจัดการวิศวกรรม 2 45,600  40,600 362,000
      วิศวกรรมระบบราง 1 50,600  45,600 355,000