Tag : คณะวิศวกรรมศาสตร์

Facultyคณะวิศวกรรมศาสตร์

การเรียน 4 ปี ที่วิศวกรรมระบบราง SPU

P'Lilly SPU
วิศวกรรมระบบราง หรือ Railway Engineering ถือเป็นหลักสูตรน้องใหม่ไฟแรง เพื่อรองรับอนาคตด้านเทคโนโลยีความเร็วสูง รอบนี้แอดมินจะพาไปดูเรื่องของการเรียนตลอด 4 ปี ของสาขาวิศวกรรมระบบรางที่ SPU!!!     ในปีแรก ทุกคนจะได้เรียนเรื่องพื้นฐานวิศวกรรม และการจัดการวิศวกรรม เช่น แนวคิดในการปรับปรุงกระบวนการ การจัดการการซ่อมบำรุง เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม วิศวกรรมความปลอดภัย การจัดการโครงการ การจัดการคุณภาพและมาตรฐาน ที่ประยุกต์ใช้ในระบบราง และมีการฝึกอบรมภาษาจีน HSK1-3...
Facultyคณะวิศวกรรมศาสตร์

ตอบข้อสงสัย วิศวกรรมระบบรางเรียนอะไร?

P'Lilly SPU
รอบนี้แอดมินจะพาไปดูกับ 7 วิชาสุดเจ๋งที่ต้องเจอในสาขาวิศวกรรมระบบราง! ที่ทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมระบบราง SPU คัดมาแล้ว!     เพราะความปลอดภัยถือเป็นพื้นฐานที่สำคัญที่สุด! แน่นอนว่ายิ่งเทคโนโลยีทันสมัยมากขึ้นเท่าไหร่        ก็ยิ่งมีโอกาสในการเกิดอุบัติเหตุมากขึ้นตามมาด้วย ดังนั้นการเรียนด้านความปลอดภัยทางวิศวกรรมระบบราง  เพื่อให้เราสามารถประเมินความเสี่ยง และความรู้ด้านความปลอดภัยเพื่อผู้โดยสาร บุคลากร และเจ้าหน้าที่ภายในทั้งหมด     ถึงแม้ระบบและอุปกรณ์ในระบบรางจะออกแบบมาดีมากแค่ไหน แต่ถ้าขาดการบำรุงรักษาที่ดี ก็จะทำให้เกิดปัญหาได้...
Facultyคณะวิศวกรรมศาสตร์

6 สาขา คณะวิศวกรรมศาสตร์ SPU มีอะไรบ้าง?

P'Lilly SPU
น้องๆ คนไหนที่กำลังเลือกว่าจะเข้าวิศวกรรมสาขาไหนดี สาขาไหนเหมาะกับเรา? รอบนี้แอดมินจะพาไปดูกันว่า แต่ละสาขาของวิศวกรรมศาสตร์ เขาเรียนอะไรกัน? ตามมาเล้ยยย!     – หลักสูตรเน้นการปฎิบัติและการจัดการงานโครงการทางด้านอุตสาหกรรมราง – เน้นความรู้ทฤษฎีและปฎิบัติด้านระบบรถไฟฟ้าความเร็วสูง การซ่อมบำรุง บริหารและจัดการด้านระบบราง – ได้ฝึกปฎิบัติจริงกับชุดปฎิบัติการมูลค่ากว่าพันล้านบาท – มี MOU ASEAN Railway College ได้รับประสบการณ์จากทุนการศึกษา ณ...
Facultyคณะวิศวกรรมศาสตร์

วิศวกรรมอุตสาหการ SPU จบแล้วทำงานอะไร?

P'Lilly SPU
ถ้าพูดถึงเรื่องของวิศวกรรมที่เรียนเกี่ยวกับกระบวนการผลิตและด้านโลจิสติกส์ แน่นอนว่าต้องยกให้เป็นเรื่องของสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ! แล้วรู้กันไหม ว่าคนที่เรียนสาขานี้เขาจบไปทำงานอะไรกัน? และแน่นอนว่ารอบนี้แอดมินเลยขอยกอาชีพของสาขาวิศวกรรมอุตสาหการมาให้ทุกคนได้รู้กัน!!!     – ออกแบบ วิเคราะห์วิธีการผลิต และปรับปรุงกระบวนการต่างๆ ทางอุตสากรรม เช่น การผลิต การจัดการและการตลาด – วางแผนการจัดวางเครื่องจักรและสายงาน เพื่อให้ได้คุณภาพและปริมาณการผลผลิตสูงที่สุด – แก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้เงิน วัสดุ เวลา กำลังการผลิตของคนงานและเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต – ตรวจงานในโรงงานอุตสาหกรรม...
Facultyคณะวิศวกรรมศาสตร์

5 เหตุผล ทำไมต้องเรียนวิศวกรรมอุตสาหการ

P'Lilly SPU
ใครที่อยากเรียนวิศวะ ถนัดการคิดวิเคราะห์ระบบงาน และการบริหารงานจัดการ ต้องนี่เลย! กับสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ SPU ซึ่งวันนี้เราจะพาทุกคนไปรู้จักกันให้มากขึ้นอีกนิด ว่าการเรียนสาขานี้ ดียังไง!     หลายคนคงเคยได้ยินกันมาว่าเด็กจบใหม่หางานยาก แต่ไม่ใช่กับเด็กวิศวกรรมอุสาหการ! เพราะสาขานี้ทำงานได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นในสายงานวิศวกรหรือสายงานธุรกิจก็ทำได้! ได้เปรียบเห็นๆ     โตแล้วจะเรียนอะไรก็ได้! เพราะในหลักสูตรของสาขาอุตสาหการนี้ นอกจากจะนำสิ่งที่เรียนไปใช้ได้จริงแล้ว ยังสามารถเอาไปต่อยอดเพื่อใช้ในการเรียนต่อได้อีกด้วย จะเรียนแบบไหน งานอะไรก็เลือกได้...
Facultyคณะวิศวกรรมศาสตร์

เจาะลึก 4 ปี สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เรียนอะไร?

P'Lilly SPU
สำหรับใครที่เป็นสายการออกแบบพัฒนาระบบซอฟต์แวร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบล้ำๆ ก็บอกได้เลยว่าสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์คือคำตอบ! และใครที่ยังสงสัยว่าในสาขานี้เขาเรียนอะไรกันบ้าง? วันนี้เราเลยนำเรื่องการเรียนตลอด 4 ปี ในสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศมาฝากกัน!     ในปีแรกน้องๆ เฟรชชี่ก็จะต้องเรียนเกี่ยวกับพื้นฐานการเขียนโปรแกรม (Basic Programming) และส่วนประกอบของ Internet of Things เพื่อนำไปสร้างอุปกรณ์ควบคุมผ่าน Internet โดยใช้ Platform     พอปีสองเราจะได้ทำการออกแบบการเชื่อมต่อระหว่าง...
Facultyคณะวิศวกรรมศาสตร์

อาชีพสุดปัง! สายวิศวกรรมเครื่องกล SPU

P'Lilly SPU
วิศวกรรมเครื่องกลหรือ Mechanical Engineering เป็นศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานในการออกแบบ พัฒนา และผลิตอุปกรณ์ที่เป็นต้นกำลัง ถ่ายทอดกำลัง และใช้กำลัง โดยการศึกษาวิศวกรรมเครื่องกลแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ ลักษณะแรกคือด้านพลังงาน ความร้อน และของไหล ส่วนลักษณะที่สองคือ ด้านการเคลื่อนไหว และเป็นหนึ่งในสาขาของคณะวิศวกรรมศาสตร์ ที่ฮอตฮิตของคนที่อยากเรียนวิศวะเลยก็ว่าได้ โดยครั้งนี้ เราจะพาน้องๆ มารู้จักอาชีพของสาขาวิศวกรรมเครื่องกลกันเถอะ ว่าพวกเขาเรียนจบมาแล้วจะทำงานอะไรกันบ้าง? อย่ารอช้า ไปดูกันเลย!!!  ...
Facultyคณะวิศวกรรมศาสตร์

ผู้หญิงก็เรียนวิศวะได้! พาไปรู้จักกับ 6 สาขา ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ SPU

P'Lilly SPU
ใครเป็นคนบอกละว่าวิศวกรต้องเป็นงานของผู้ชายเท่านั้น? การที่ไม่เคยเห็นวิศวกรหญิงก็ไม่ได้แปลว่าจะไม่มีซะหน่อยจริงไหม? สำหรับสาวๆ คนไหนที่อยากเรียนวิศวะ แต่ยังไม่แน่ใจว่าจะเรียนอะไรดี เราจะขอพาไปรู้จักกับ 6 สาขาของคณะวิศวกรรมศาสตร์ ที่ SPU ว่ามีอะไรกันบ้าง ตามมาเลยยยยยย     แก้ความเข้าใจผิดที่ว่าวิศวกรโยธาจบมาเพื่อสร้างตึกอย่างเดียว เพราะเราอัดแน่นความรู้ทุกระบบ ทั้งวิศวกรรมปฐพี ขนส่ง แหล่งน้ำ เขื่อน สิ่งแวดล้อม เหมาะสำหรับสาวๆ ที่ถนัดสายสำรวจ ตรวจสอบและบริหารเป็นอย่างดี พร้อมเปิดโอกาส...
FacultyWhyspuคณะวิศวกรรมศาสตร์

ไม่รู้ไม่ได้! 4 อาชีพสายวิศวกรรมยานยนต์สมัยใหม่

P'Menu SPU
  เอาใจคนที่ชื่นชอบความเร็วและเครื่องยนต์กันบ้างดีกว่า กับรายละเอีดยของอาชีพต่างๆ ในสายงานของวิศววกรรมยานยนต์ รอบนี้มีทั้งประจำโรงงาน สายผลิต สายด้านการแข่งขันด้วยนะ   วิศวกรควบคุมการผลิตยานยนต์ – ดูแลด้านการผลิต การควบคุมคุณภาพสินค้า – วิเคราะห์อาการหรือปัญหาของเครื่องจักรด้านอุตสหากรรมยานยนต์ – ให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นภายในโรงงาน – ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง     วิศวกรออกแบบและทดสอบยานยนต์ – วางแผนการออกแบบยานยนต์ –...
Facultyคณะวิศวกรรมศาสตร์

DEK วิศวะอยากบอก! เรียนวิศวกรรมไฟฟ้า จบมาทำงานอะไร?

P'Menu SPU
  สำหรับน้องๆ ที่มีความฝันอยากจะเป็นวิศวกรไฟฟ้า รักทุกเรื่องที่เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า วันนี้เราจะพาไปเจาะลึกข้อมูลงานของแต่ละอาชีพที่คนเรียนจบทางวิศวกรรมทางด้านไฟฟ้า ว่าพวกเขาทำงานเกี่ยวกับอะไร? และนอกจากจะทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าจะทำงานด้านไหนได้อีกบ้าง?     วิศวกรไฟฟ้าจะแบ่งงานออกเป็น 3 สายด้วยกัน โดยสายแรกจะเป็นวิศวกรไฟฟ้ากำลัง ที่จะดูแลเกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้าว่าจะผลิตอย่างไร ส่งจ่ายมายังผู้ใช้งานทั่วไปด้วยวิธีไหน ส่วนสายที่สองคือวิศวกรไฟฟ้าควบคุมจะต้องเป็นวิศวกรที่มีความรู้เกี่ยวกับการใช้งานเครื่องจักร การควบคุมมอเตอร์ โปรแกรม และสายสุดท้าย คือวิศวกรไฟฟ้าสื่อสารโดยจะต้องเป็นวิศวกรที่มีความรู้เกี่ยวกับการส่งสัญญาณ แน่นอนว่าทั้ง 3 สายนี้จะต้องแน่นความรู้เกี่ยวกับความรู้ทุกอย่างของระบบไฟฟ้าเป็นพื้นฐาน แล้วค่อยแยกการทำงานไปตามความถนัดของแต่ละคน      ...