Tag : วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

Facultyวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

อยากนำเข้า-ส่งออกสินค้า เลือกเรียน วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มุ่งเน้นโลจิสติกส์ นำเข้า-ส่งออก

P'Krish
อยากนำเข้า หรือ ส่งออกสินค้า จำเป็นต้องมีความรู้ ทักษะและประสบการณ์ที่จำเป็นใน การประกอบธุรกิจ เช่น ทักษะในการเจรจาต่อรอง ทักษะในการบริหารความเสี่ยง ทักษะใน การจัดการโลจิสติกส์ และทักษะในการบริหารการเงิน ธุรกิจนำเข้า-ส่งออกสินค้าเป็นธุรกิจ ที่มีความเสี่ยงค่อนข้างสูง ผู้ประกอบธุรกิจนำเข้า-ส่งออกสินค้าจึงควรศึกษาข้อมูลและ วางแผนอย่างรอบคอบก่อนตัดสินใจประกอบธุรกิจ ผู้ที่สนใจประกอบธุรกิจนำเข้า-ส่งออกสินค้า จึงจำเป็นต้องมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ กระบวนการนำเข้า – ส่งออกสินค้าเป็นอย่างดี ซึ่งรวมถึง กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนและกระบวนการ เงื่อนไขข้อกำหนด รวามไปถึงความเสี่ยงและข้อจำกัดของการ...
Facultyคณะดิจิทัลมีเดียคณะนิติศาสตร์คณะบริหารธุรกิจคณะบัญชีคณะวิศวกรรมศาสตร์คณะเทคโนโลยีสารสนเทศวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

จบ ปวส. อยากต่อ ปริญญาตรี เลือกเรียนเวลาไหนดี?

P'Krish
น้องๆ ที่จบ ปวส. หลายคนเลือกที่จะเรียนต่อปริญาตรี เพราะถ้าเรียนต่อปริญญาตรี จะสามารถเรียนอะไรที่เฉพาะได้มากขึ้น และช่วยให้เราสามารถเรียนต่อได้ในระดับที่สูดขึ้น ทำให้เราสามารถพัฒนาความรู้ของเราและทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ น้องๆ คนไหนกำลังกังวลว่าจะเรียนต่อดีมั้ย ถ้าเรียนต่อปริญญาตรีจะเลือกคณะไหนดี ต้องอ่านบทความนี้   เรียนจบ ปวส. เรียนต่อคณะไหนดี? ที่ SPU มีให้เลือกหลายสาขา เลือกเรียนได้หลายเวลา มีคณะไหนน่าสนใจบ้าง มาดูกันเลย… “ภาคปกติ” คณะดิจิทัลมีเดีย    ...
Facultyวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

คนคิดแบบ Logical เลือกเรียน Logistics วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

P'Krish
การคิดเชิงตรรกะ (Logical Thinking) คือ การทำความเข้าใจกับภาพรวมของสถาการณ์ เรื่องราว เหตุการณ์ โดยใช้ความคิดที่เป็นเหตุเป็นผล มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงของสิ่งที่คิด มีลำดับขั้นตอนของกระบวนการคิด ซึ่งคนที่มีกระบวนการคิดเชิงตรรกะ จะส่งผลดีอย่างมากใน การเรียนเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน เพราะทุกกระบวนการด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ต้องอาศัยการคิดและการวางแผนที่ค่อนข้างเป็นเหตุเป็นผลและเป็นขั้นตอน       1. แนวคิดการแยกย่อย การแตกปัญหากระบวนการออกเป็นส่วนย่อย เป็นการพิจารณาเพื่อแบ่งปัญหา หรืองานออกเป็นส่วนย่อย ทำให้สามารถจัดการกับปัญหาหรืองานได้ง่ายขึ้น พูดง่ายๆ เอาปัญหามาแยกย่อยออกเป็นส่วนๆ...
Facultyวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

โลจิสติกส์และซัพพลายเชน ทำอะไรในธุรกิจ แบรนด์เสื้อผ้า

P'Krish
ชวนน้องๆ มาทำความรู้จัก โลจิสติกส์และซัพพลายเชน คณะนี้เรียนอะไร? เรียนไปทำไม? เรียนเฉพาะการขนส่งสินค้ารึเปล่า? ผ่าน “ธุรกิจเสื้อผ้า” บอกเลยว่าอยู่ในทุกระบวนการของธุรกิจ ซ่อนอยู่ในส่วนไหนของธุรกิจบ้าง มาดูกัน! การจัดซื้อ วางแผนการทำงานและประสานงานกับผู้ผลิต วัตถุดิบหรือโรงงานผลิตเสื้อผ้า เพื่อให้ได้ตาม ความต้องการในราคาที่คุ้มค่าที่สุด   การผลิต วางแผน ออกแบบกระบวนการการผลิต และการควบคุมปริมาณและคุณภาพสินค้าสินค้า ให้ได้ประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด   การบรรจุ ตรวจสอบคุณภาพสินค้า...
British CollegeFacultyคณะการสร้างเจ้าของธุรกิจคณะการออกแบบและสถาปัตยกรรมศาสตร์คณะดิจิทัลมีเดียคณะนิติศาสตร์คณะนิเทศศาสตร์คณะบริหารธุรกิจคณะบัญชีคณะวิศวกรรมศาสตร์คณะศิลปศาสตร์คณะเทคโนโลยีสารสนเทศวิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการวิทยาลัยการบินและคมนาคมวิทยาลัยนานาชาติวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

Review 15 คณะแบบสั๊นสั้น… เข้าใจง๊ายง่าย… ใน 5 บรรทัด

P'Krish
น้องๆ คนไหน ยังไม่รู้ว่าชอบอะไร? จะเรียนต่อคณะไหน? มาทำความรู้จักกับ 15 คณะน่าเรียน 2023 แบบสั้น ๆ เข้าใจง่าย ๆ ใน 5 บรรทัด สนใจด้านไหน อยากเรียนอะไร เลือกเลย!   คณะดิจิทัลมีเดีย คณะนี้อยู่กลุ่มเดียวกับคณะศิลปกรรมศาสตร์หรือจิตรกรรมศาสตร์ แต่เป็นเวอร์ชันยุคดิจิทัล เน้นด้านศิลปะและการออกแบบ การใช้ความคิดสร้างสรรค์ผสมผสานกับนวัตกรรมใหม่ ๆ...
Facultyวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน SPU เลือกได้ 4 รูปแบบ 7 หลักสูตร เลือกเรียนในแบบที่ใช่ ต่อยอดในสิ่งที่ใช้

P'Krish
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน SPU สร้างความเชี่ยวชาญในงานด้านโลจิสติกส์ นักศึกษาจะได้เรียนรู้การวางแผนการขนส่ง การจัดเก็บและควบคุมสินค้า การจัดซื้อจัดหา การกระจายสินค้า การบรรจุ การส่งมอบสินค้าและการติดต่อทำธุรกิจระหว่างประเทศ บอกได้เลยว่าครบทุกกระบวนการตั้งแต่ต้นนำ้ยันปลายน้ำ สามารถเลือกเรียนได้ถึง 4 รูปแบบ 7 หลักสูตร มีอะไรน่าสนใจบ้าง มาดูกันเลย…   ภาคปกติ              ...
Facultyคณะการสร้างเจ้าของธุรกิจคณะบริหารธุรกิจคณะศิลปศาสตร์วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

ทำไงดี? จะเข้ามหาลัยแล้ว…แต่ยังไม่รู้ว่าถนัดอะไร อยากเรียนคณะไหน

P'Krish
น้องๆ หลายคนกังวลใจอยู่ไม่น้อย เพราะไม่รู้ว่าตัวเองถนัดอะไร อยากเรียนคณะไหน? บทความนี้จะชวนน้อง ๆ มารู้จักกับ 5 คณะ ของคนมีความสามารถหลากหลาย เลือกงานได้กว้างกว่าใคร ทำงานที่ไหนใครๆ ก็ต้องการ แถมรายได้สู๊งสูงง อยากรู้มีคณะอะไรบ้าง มาดูกันเลย!!   คณะบริหารธุรกิจ รอบรู้ด้านการบริหารธุรกิจ สอนทุกเทคนิคการจัดการ มีสาขาให้เลือกเรียนได้ ดังนี้ • บริหารธุรกิจ • การตลาดดิจิทัล...
FacultyUncategorizedคณะดิจิทัลมีเดียคณะบริหารธุรกิจคณะบัญชีคณะวิศวกรรมศาสตร์คณะเทคโนโลยีสารสนเทศวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

จบปวส. เรียนต่อคณะไหนดี?

P'Krish
6 คณะ สุดตึงของเด็ก ปวส. จะเรียนเต็มเวลา หรือ ทำงานประจำ ก็เลือกได้ • ภาคปกติ • นอกเวลาราชการ • วันเสาร์ – อาทิตย์ • วันอาทิตย์วันเดียว คณะวิศวกรรมศาสตร์      • วิศวกรรมไฟฟ้า (นอกเวลาราชการ)  ...
Facultyวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

5 เหตุผล ทำไมเรียนโลจิสติกส์ ถึงการันตีมีงานทำ 100%

P'Krish
น้องๆ หลายคนสงสัยว่า ทำไมเรียนโลจิสติกส์ ถึงการันตีมีงานทำ 100% จริงหรอ? ที่สำคัญยังเป็นคณะยอดฮิตในปัจจุบันอีก แต่ทำไมถือว่าอยู่ในเกณฑ์ความเสี่ยงน้อย ที่ไม่ค่อยตกงาน และไม่โดนแย่งงานง่ายๆ บทความนี้ จะมาเผย 5 เหตุผลสั้นๆ เข้าใจง่าย โดยอ้างอิงจากอาชีพ ที่ตลาดงานในปัจจุบันและอนาคตมีการคาดการณ์ว่าจะเป็นที่ต้องการ สูงขึ้นเรื่อยๆ ไว้เป็นแนวทางให้น้องๆ ได้ใช้ประกอบการตัดสินใจ ดังนี้เลย ความต้องการบุคลากร ด้านโลจิสติกส์จำนวนมาก ธุรกิจออนไลน์เติบโต มีการค้าระหว่างประเทศสูงขึ้น บุคลากรที่มีความรู้ด้านโลจิสติกส์โดยตรงมีน้อย  ...
Facultyคณะการสร้างเจ้าของธุรกิจคณะนิติศาสตร์คณะนิเทศศาสตร์คณะบริหารธุรกิจคณะศิลปศาสตร์วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการวิทยาลัยนานาชาติวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

8 คณะยอดฮิตของ “เด็กสายศิลป์” มาค้นหาคณะที่ใช่ สไตล์ที่ชอบกัน!

P'Krish
สำหรับนักเรียนมัธยมที่เรียนอยู่สายศิลป์ แต่ยังไม่รู้ว่าเรียนต่อคณะไหนดี? อยากเรียนต่อคณะสายศิลป์ วันนี้ SPU ได้รวบรวมมาให้แล้วกับ 8 คณะยอดฮิต “เด็กสายศิลป์” มีคณะไหนบ้าง นิสัยเราเป็นคนยังไง เหมาะกับคณะไหน มาดูกันเล้ยย!   คณะบริหารธุรกิจ      อยากมีธุรกิจของตัวเอง ชอบการบริหาร ชอบวางแผน อินเทรนด์ มีความคิดที่แตกต่าง ชอบความท้าทาย กล้าได้กล้าเสีย ไม่เชื่ออะไรง่ายๆ     คณะศิลปศาสตร์...