Facultyวิทยาลัยการบินและคมนาคม

9 ประเภทวัตถุอันตรายทางการบิน #วิทยาลัยการบินและคมนาคม SPU

9 ประเภทวัตถุอันตรายทางการบิน #วิทยาลัยการบินและคมนาคม

 

ว่าด้วยเรื่องเกี่ยวกับการบินหรือการเดินทาง ก็ต้องนึกถึงความปลอดภัยเป็นลำดับแรกๆ ถูกไหมคะ

ยิ่งเป็นการบินแล้ว การที่ต้องรับผิดชอบต่อความปลอดภัยของผู้โดยสารจำนวนมาก

จึงมีกฎและข้อบังคับมากมายเช่นเดียวกัน วันนี้พี่เลยอยากจะมาให้ความรู้น้องๆ เกี่ยวกับ

9 ประเภทวัตถุอันตรายทางการบิน 

ที่น้องๆ เองก็ควรรู้เป็นขั้นพื้นฐาน เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงการนำสิ่งของเหล่านี้ขึ้นเครื่องบิน และอาจเป็นการช่วยเหลือคนอื่นๆ ได้อีกด้วยค่ะ

 

 

ประเภท 1 วัตถุระเบิด (Explosive)

ประเภท 2 ของเหลวไวไฟ (Flammable liquids)

ประเภท 3 สารออกซิไดซ์ และออร์แกนิคเปอร์ออกไซด์ (Oxidizing substances and organic peroxides)

9 ประเภทวัตถุอันตรายทางการบิน #วิทยาลัยการบินและคมนาคม

 

 

ประเภท 4 ของแข็งไวไฟ สารที่เสี่ยงต่อการลุกไหม้เอง และสารให้ก๊าซไวไฟเมื่อสัมผัสกับน้ำ (Flammable solids; substances liable to spontaneous combustion; substances which, in contact with water, emits flammable gases)

ประเภท 5 วัสดุกัมมันตรังสี (Radioactive material)

ประเภท 6 สารกัดกร่อน (Corrosive substances)

9 ประเภทวัตถุอันตรายทางการบิน #วิทยาลัยการบินและคมนาคม

 

 

ประเภท 7 สารพิษและสารติดเชื้อ (Toxic and infectious substances)

ประเภท 8 ก๊าซ (Gases)

X ประเภท 9 สารและวัตถุอันตรายเบ็ดเตล็ดอย่างอื่น รวมถึงสารที่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม (Miscellaneous dangerous substances and articles, including environmentally hazardous substances)

9 ประเภทวัตถุอันตรายทางการบิน #วิทยาลัยการบินและคมนาคม

 

 

หวังว่าจะเป็นเกร็ดความรู้เล็กๆ น้อยๆ ให้กับน้องๆ นะคะ

การทำงานในสายการบินต้องเอาใจใส่และต้องอาศัยความละเอียดอย่างมากเลยเนอะ

น้องๆ คนไหนสนใจงานด้านการจัดการความปลอดภัยการบิน หรือ อยากเป็นนักบินสุดเท่

รีบเข้ามาสมัครกันได้เลยค่ะ ที่ วิทยาลัยการบินและคมนาคม SPU

 

 

ที่มา : CAAT

 

 

(Visited 1,348 times, 1 visits today)

Related posts

ข้อดีของการทำงานระหว่างเรียน ฉบับ DEK บัญชี SPU

P'Lilly SPU

วิศวกรรมอุตสาหการ (IE) หลักสูตรใหม่ เรียนอะไร?

P'Lilly SPU

6 เหตุผลที่ต้องเรียน วิทยาลัยการบินและคมนาคม @SPU

P'Menu SPU