
“เมื่อนักบินนำเครื่องขึ้นไปแล้วทุกอย่างจะอยู่ในมือของนักบินทั้งหมด แต่เมื่ออยู่บนโต๊ะการตัดสินใจจะเป็นการตัดสินใจร่วมกันระหว่างนักบินกับ Flight Dispatcher”
” เรียนกับผู้เชี่ยวชาญ จบไปอย่างมืออาชีพ “
Flight Dispatcher อาชีพที่น้องๆ หลายคนอาจไม่รู้จัก เป็นงานที่สนุก ท้าทาย ทำหน้าที่บรีฟรายละเอียดการบินให้กับนักบิน ก็คือทำงานควบคู่ไปกับนักบินเลย ไม่สามารถแยกกันได้ เพราะนักบินไม่สามารถขึ้นเครื่องแล้วขับออกไปได้เลย เขาต้องมีการวางแผนการบินซึ่งเขาก็ไม่สามารถมานั่งทำงานตรงนี้ได้เพราะต้องใช้เวลา ดังนั้น การวางแผนก่อนขึ้นบินยกให้เราได้เลย
– ผู้กู้ลักษณะที่ 1 / ลักษณะที่ 2 / Human Capital ชำระเริ่มต้น 4,000 บาท ที่เหลือเป็นการกู้จากกองทุน
– ผู้ชำระเงินสด งวดแรกชำระ 15,000 บาท และชำระส่วนที่เหลือภายใน 30 เมษายน 2566
โครงสร้างหลักสูตร
พนักงานอำนวยการบิน หรือ “Flight Dispatcher” ในการเตรียมความพร้อมให้กับเที่ยวบินในส่วนของการวางแผนการบิน รวมถึงการจัดเตรียมข้อมูลแผนปฏิบัติการบิน และเอกสารประกอบการบินที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ เพื่อให้ได้มาซึ่ง การปฏิบัติการบินที่เป็นไปด้วยความปลอดภัย ตามแผนที่วางไว้ และประหยัดต้นทุน มีประสิทธิภาพ เป็นไปตามกฎหรือข้อบังคับทางการบินของประเทศไทย และประเทศอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
จำนวนหน่วยกิตที่ศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 128 หน่วยกิต
Course No. | Credits |
---|---|
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป | |
1.1 กลุ่มสาขาวิชามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ | 9 หน่วยกิต |
1.2 กลุ่มสาขาวิชาภาษาและการสื่อสาร | 12 หน่วยกิต |
1.3 กลุ่มสาขาวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ | 9 หน่วยกิต |
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน | |
2.1 กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ | 26 หน่วยกิต |
2.2 กลุ่มวิชาชีพบังคับ | 33 หน่วยกิต |
2.3 กลุ่มวิชาชีพเลือก | 15 หน่วยกิต |
2.4 กลุ่มวิชาโท/วิชาเฉพาะ | 15 หน่วยกิต |
ภาคปกติ
เรียนในเวลาราชการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 9.00 – 17.00 น.
วางแผนการบิน คำนวณน้ำมันที่เครื่องบินจะต้องใช้ คำนวณน้ำหนักของเครื่องเพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุด จัดเตรียมเอกสารที่สำคัญสำหรับการบินของนักบิน เช่น แผนการบิน รายงานพยากรณ์อากาศ ภาพถ่ายผ่านดาวเทียม แผนที่อากาศที่แสดงความเร็วของลมในแต่ละความสูง การแผ่ตัวของเมฆในชั้นต่างๆ และข่าวประกาศนักบินหรือเรียกว่า NOTAM (Notice to airmen) ที่แสดงถึงข้อมูลสำคัญต่างๆ ของสนามบินที่จะทำการบินไปส่งผู้โดยสารและระหว่างเส้นทางบิน การติดต่อวิทยุสื่อสารกับนักบิน หรือเรียกว่า Air to Ground Communication เพื่อประสานงานในเรื่องต่างๆ การติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภาคพื้นอื่นๆ เพื่อให้เที่ยวบินนั้นๆ มีความสะดวกและปลอดภัย ตามมาตรฐานสำนักงานการบินพลเรือนระหว่างประเทศ
ที่ 1 เรื่องความปลอดภัยด้านการบิน ลงลึกแบบมืออาชีพ เรียนรู้ด้านหลักการบินอุตุนิยมวิทยาการบิน กฎหมายการบิน ติวเข้มภาษา เรียนจบพร้อม Certificate เลือกเส้นทางอาชีพได้ 6 Track นักบิน* นักบินอากาศยานไร้คนขับ อำนวยการบิน จราจรทางอากาศ การจัดการสนามบินและสินค้าทางอากาศ ความปลอดภัยการคมนาคม
คณะดิจิทัลมีเดีย
คณะนิเทศศาสตร์
คณะการสร้างเจ้าของธุรกิจ
วิทยาลัยการบินและคมนาคม
วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการ
คณะศิลปศาสตร์
คณะบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
คณะบัญชี
คณะวิศวกรรมศาสตร์
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะการออกแบบและสถาปัตยกรรมศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
Sripatum International College
British College
ปริญญาโท-เอก
ปีการศึกษา | เทอม 1 | เทอม 2 | เทอม 3 |
ปีการศึกษาที่ 1 | 35,000 | 20,700 | |
ปีการศึกษาที่ 2 | 50,000 | 39,,300 | 14,500 |
ปีการศึกษาที่ 3 | 40,600 | 50,800 | – |
ปีการศึกษาที่ 4 | 19,500 | – | – |
ลักษณะการกู้ยื่มฯ | 2 + Human* | ||
ค่าเทอม (4ปี) | 310,200 |
คณะ/สาขาวิชา | ลักษณะการกู้ยืมฯ | เทอม 1 | ตลอด หลักสูตร |
วิทยาลัยการบินและคมนาคม | |||
การจัดการความปลอดภัยการบิน | 2 + Human* | 310,200 |